หลักสูตรการบริหารความเสี่ยงและการปฏิบัติตามกฎระเบียบของรัฐบาล สร้างความเข้าใจในนิยามและลักษณะของความเสี่ยง เป้าหมายการบริหารความเสี่ยง และแนวทางการบริหารความเสี่ยงและ การควบคุมภายในที่มีประสิทธิผล
ความต้องการบุคคลากรผู้เชี่ยวชาญระบบรักษาความมั่นคงปลอดภัยข้อมูลคอมพิวเตอร์นับวันจะยิ่งเพิ่มขี้นในทุกปีจากสาเหตุหลายประการ เช่น อัตราการเพิ่มขึ้นของภัยอินเทอร์เน็ต และ อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ ในรูปแบบใหม่ ๆ
ทุกวันนี้หลายองค์กรในประเทศไทยและทั่วโลก กำลังกล่าวถึงคำว่า “Best Practices” หรือมาตรฐานที่ควรนำมาเป็นแนวทางในการเตรียมระบบสารสนเทศขององค์กรให้พร้อมเข้าสู่ยุค IT Governance โดยที่ “Best Practices” ที่นิยมใช้กันได้แก่ มาตรฐาน ISO/IEC17799, CobiT และ ITIL เป็นต้น
แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของกระบวนการควบคุมความปลอดภัยข้อมูลด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ในวันนี้กำลังเป็นเรื่องสำคัญที่หลายองค์กรทั้งภาครัฐและเอกชนทั่วโลกมีความจำเป็นต้องปรับตัวให้เข้ากับยุคสงครามไซเบอร์ (Cyber Warfare)
หลังจากที่เราได้ปฏิบัติตาม ISMF ในขั้นตอนที่ 1 และ 2 เราจะเข้าสู่ขั้นตอนที่ 3 คือ “Practical Information Security Policy”
จากการที่เรานำระบบ IT มาใช้ในชีวิตประจำวันของการทำงานในองค์กรอย่างที่ยกตัวอย่างให้ท่านผู้อ่านได้ทราบแล้วนั้น จึงมีความจำเป็นที่ต้องมีฝ่ายหรือบุคลากรที่จะมาตรวจสอบด้าน IT ซึ่งเรามักเรียกว่า “IT Auditor” หรือ “IS Auditor”