ปัจจุบันวิวัฒนาการของโลกอยู่ในยุคคลื่นลูกที่ 4 ที่หมายถึง อุตสาหกรรมยุคดิจิทัล (Industry 4.0) รัฐบาลไทยเองก็ได้ประกาศนโยบายไทยแลนด์ 4.0 เพื่อก้าวไปสู่ยุคดิจิทัลเช่นกัน
นับจากไวรัสคอมพิวเตอร์ตัวแรกของโลก “Brain” บน Platform MS-DOS ที่อุบัติขึ้นในเดือนมกราคม พ.ศ. 2528 เป็นปีแรกที่ผมเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งในขณะนั้นยังไม่มีระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows เหมือนทุกวันนี้
ตลอดปี พ.ศ. 2558 ที่ผ่านมา เราได้เห็นเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการโจมตีทางไซเบอร์เกิดขึ้นทั่วโลก และ การมาถึงของ “เทคโนโลยีพลิกโลก” (Disruptive Technology) ยุคแห่ง Social, Mobile, Cloud และ Big Data
การมาถึงของยุคแห่ง S-M-C-I (ดูรูปที่ 1) ทำให้หลายองค์กรต้องเตรียมตัวรับมือกับภัยคุกคามใหม่ๆ ที่มาทางไซเบอร์ โดยผ่านช่องทาง Social Network, Mobile Devices หรือ Cloud Services ต่างๆ โดยสภาพและลักษณะของภัยคุกคามมีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมอย่างมาก
จากบทความในฉบับที่แล้วเราได้ทำความเข้าใจเกี่ยวกับกรอบดำเนินงานการบริหารบุคคลากรด้าน Cybersecurity ที่เรียกว่า National Cybersecurity Workforce Framework ของประเทศสหรัฐอเมริกา
ปัจจุบันเทคโนโลยีด้านคอมพิวเตอร์ และ อินเทอร์เน็ต ได้ก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็ว และ มีการใช้งานที่แพร่หลายทั้งในส่วนภาครัฐ เอกชน ประชาชนทั่วไปสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารผ่านอุปกรณ์พกพาที่เชื่อมโยงกับระบบอินเทอร์เน็ตตลอด 24 ชั่วโมง ได้อย่างรวดเร็ว