อย่างที่ทุกคนทราบว่า กฎหมาย พ.ร.บ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล หรือ PDPA ที่กำลังจะมีผลบังคับใช้ในเดือนมิถุนายน 2565 นี้ หลายองค์กร ยังมองเรื่องการทำ PDPA เป็นเรื่องของหน่วยงานไอที (IT) เพียงเท่านั้น
ในปัจจุบันเราได้ยินข่าว “ข้อมูลรั่วไหล” หรือข้อมูลส่วนบุคคลหลุดออกไปสู่สาธารณะหรือไปอยู่ในมือของมิจฉาชีพ ทำให้เกิดความเดือดร้อนต่อเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลไม่เว้นเเต่ละวัน โดยมีอัตราการเกิดความเสียหายอย่างต่อเนื่อง
จากหลายบทความที่เราได้นำเสนอในมุมขององค์กร ในการเตรียมตัวรับมือกับกฎหมาย PDPA วันนี้ เราจะมานำเสนอในมุมของประชาชนบ้าง ว่าเมื่อกฎหมาย PDPA ถูกนำมาใช้แล้ว ประชาชนคนทั่วไปนั้น จะได้ประโยชน์จากกฎหมายข้อนี้อย่างไรบ้าง
ที่ผ่านมา หลายธุรกิจตื่นตัวในเรื่องข้อบังคับตามกฎหมายอย่างเคร่งครัด เนื่องจากมีบทลงโทษทางแพ่ง ทางอาญาและทางปกครองหลายประการสำหรับผู้ที่กระทำความผิดต่อการควบคุมข้อมูลของประชาชน
Data Protection Officer หรือ DPO (เจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ) คือ บุคคลที่มีบทบาทสำคัญในการดูแลรักษาข้อมูลส่วนบุคคลทั้งหมดขององค์กรไม่ว่าจะเป็นทั้งข้อมูลส่วนบุคคลทั้งภายใน หรือภายนอก
ถ้าไม่มีอะไรเปลี่ยนแปลง อีกไม่กี่เดือนที่จะถึงนี้ การบังคับใช้กฎหมาย พ.ร.บ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 หรือ PDPA (???????? ???? ?????????? ???) ที่ได้ประกาศไว้ในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม 2562