ในปัจจุบันคำว่า “IT Governance” และ “Information Security Governance” กำลังเป็นที่กล่าวถึงกันในวงการธุรกิจตลอดจนในวงการไอที ตลอดจนแนวคิดเรื่อง “Green IT” และ “Sustainability” เป็นการมาถึงของยุคที่แนวคิด “Corporate Governance”
สืบเนื่องจากกฏหมาย พรบ.ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ที่ได้ประกาศบังคับใช้ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2544 ในปัจจุบันเวลาผ่านมา 6 ปี ทางภาครัฐได้มีความพยายามในการผลักดันในการใช้กฏหมาย พรบ. ธุรกรรมฯ โดยได้พยายามออกกฏหมายลูก
ความต้องการบุคคลากรผู้เชี่ยวชาญระบบรักษาความมั่นคงปลอดภัยข้อมูลคอมพิวเตอร์นับวันจะยิ่งเพิ่มขี้นในทุกปีจากสาเหตุหลายประการ เช่น อัตราการเพิ่มขึ้นของภัยอินเทอร์เน็ต และ อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ ในรูปแบบใหม่ ๆ
ในสถานการณ์ปัจจุบันผู้บริหารระบบเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูงหรือ CIO นั้น มีความจำเป็นที่จะต้องศึกษามาตรฐานสากลด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยในระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อนำมาประยุกต์ใช้ในองค์กร เหตุผลมีหลายประการ
การเดินทางมาเยือนประเทศไทยอย่างเป็นทางการของ มร. บิลส์ เกตส์ ประธานบริษัท และ ประธานฝ่ายสถาปัตยกรรมซอฟท์แวร์ของไมโครซอฟท์ เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2548 ที่ผ่านมานั้น ถือเป็นก้าวสำคัญของวงการไอทีในประเทศไทย
ทุกวันนี้หลายองค์กรในประเทศไทยและทั่วโลก กำลังกล่าวถึงคำว่า “Best Practices” หรือมาตรฐานที่ควรนำมาเป็นแนวทางในการเตรียมระบบสารสนเทศขององค์กรให้พร้อมเข้าสู่ยุค IT Governance โดยที่ “Best Practices” ที่นิยมใช้กันได้แก่ มาตรฐาน ISO/IEC17799, CobiT และ ITIL เป็นต้น