จากการบังคับใช้ พรบ. ว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 เมื่อวันที่ 19 กรกฏาคม 2550 ที่ผ่านมา ทำให้หลายคนต้องระมัดระวังในการใช้งานอินเทอร์เน็ตมากขึ้น เนื่องจาก พรบ. ได้กำหนดบทลงโทษผู้ที่ใช้งานคอมพิวเตอร์ในทางมิชอบ
จากบทวิเคราะห์กฏหมายในบทความตอนที่แล้ว เราได้วิเคราะห์ถึงหมวด 1 “ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์” ตั้งแต่มาตรา 5 ถึง มาตรา 17 โดยที่มาตรา 5, 6, 7, 8, 9, 10 และ มาตรา 12 กล่าวถึง ความผิดที่กระทำต่อคอมพิวเตอร์
ช่วงนี้ประเทศไทยของเรามีเหตุการณ์สำคัญๆเกี่ยวกับเรื่องความปลอดภัยข้อมูลคอมพิวเตอร์เกิดขึ้นหลายเรื่อง มีทั้งข่าวดีและข่าวร้าย สำหรับข่าวดีก็คือ ทางสภานิติบัญญัติแห่งชาติ หรือ สนช.
ภัย อันดับที่สี่ : ภัยจากการถูกแฮกเกอร์ยึดเครื่องคอมพิวเตอร์ไปทำเป็น “BOT” เพื่อสร้างเครือข่าย “BOTNET”
ปัญหาภัยอินเทอร์เน็ตของประเทศไทยจากสถิติในสองสามปีที่ผ่านมา พบว่ามีอัตราการเพิ่มขึ้นของปัญหาต่าง ๆ เป็นไปอย่างก้าวกระโดดตามอัตราการเพิ่มขึ้นของจำนวนผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย
สืบเนื่องจากกฏหมาย พรบ.ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ที่ได้ประกาศบังคับใช้ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2544 ในปัจจุบันเวลาผ่านมา 6 ปี ทางภาครัฐได้มีความพยายามในการผลักดันในการใช้กฏหมาย พรบ. ธุรกรรมฯ โดยได้พยายามออกกฏหมายลูก