ทำไมผู้บริหารจึงควรใส่ใจ และ ดูแลการใช้ email ของพนักงาน ? เป็นคำถามที่น่าสนใจและควรนำมาคิดไตร่ตรองหาคำตอบ เพราะ ในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา email ได้กลายเป็นสื่อกลางชนิดใหม่ที่สำคัญในการสื่อสารขององค์กร
เหล่าอาชญากรยุคไฮเทคในปัจจุบันกำลังใช้เทคนิคใหม่ที่เข้ามาแอบขโมยข้อมูลส่วนตัวของเราตลอดจนทำให้เงินออกจากกระเป๋าเราได้อย่างง่ายดาย โดยเฉพาะผู้ที่ใช้บริการอินเตอร์เน็ตแบงค์กิ้งอยู่ในเวลานี้
บทความในสองตอนที่แล้วนั้นทำให้เราทราบว่าโมเดล ISMF Version 2 นั้นประกอบไปด้วย 4 งานหลัก (Plan, Do, Check, Act ) และ แต่ละงานหลักมี 4 งานย่อย รวมทั้งหมด 16 งานย่อย
เมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2549 ที่ผ่านมา คณะเจ้าหน้าที่ระดับสูงจากประเทศไทย ซึ่งประกอบด้วยผู้บริหารและผู้เชี่ยวชาญจากกระทรวงเทคโนโลยีและการสื่อสาร (ICT) พ.ต.อ. ญาณพล ยั่งยืน จาก กรมสอบสวนคดีพิเศษ และ ทีมผู้เชี่ยวชาญจาก ACIS Professional Center
ในยุคที่อินเทอร์เน็ตกลายเป็นสาธารณูปโภคเหมือนระบบโทรศัพท์ที่ทุกบ้านทุกองค์กรต้องมีไว้ใช้บริการในการติดต่อสื่อสารกับโลกภายนอก การติดต่อสื่อสารทั่วโลกกลายเป็น เครือข่ายโปรโตคอล TCP/IP ขนาดมหึมาประกอบด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์หลายพันล้านเครื่อง
การพัฒนาการของประเทศไทยในการนำเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาใช้งานในองค์กรโดยเฉพาะการต่อเชื่อมกับระบบอินเทอร์เน็ตกำลังมีอัตราเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทุกองค์กรต้องมีความจำเป็นติดต่อสื่อสารกับองค์กรทั่วประเทศและทั่วโลก
แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของกระบวนการควบคุมความปลอดภัยข้อมูลด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ในวันนี้กำลังเป็นเรื่องสำคัญที่หลายองค์กรทั้งภาครัฐและเอกชนทั่วโลกมีความจำเป็นต้องปรับตัวให้เข้ากับยุคสงครามไซเบอร์ (Cyber Warfare)
บทสรุปได้จา่กการประชุมคณะกรรมการที่ปรึกษาด้านความปลอดภัยข้อมูลแห่งเอเชีย วันที่ 10 มกราคม 2547 ครั้งที่ 2 ที่ประเทศสิงคโปร์ ซึ่ง ประกอบด้วยตัวแทนจากประเทศต่างๆ ในทวีปเอเชีย, ตัวแทนจากประเทศสหรัฐอเมริกา และ ตัวแทนจากประเทศออสเตรเลีย
ทิศทาง Information Security ในปี 2005 มีหลายเรื่องที่เปลี่ยนแปลงไปจากปี 2004 แต่ยังคงมีบางเรื่องที่ต่อเนื่องมาจากปี 2004 และมีการพัฒนาการทางเทคนิคเพิ่มขึ้น การจู่โจมของแฮกเกอร์และไวรัสคอมพิวเตอร์มีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างมากเมื่อเทียบกับปี 2004
จากฉบับที่แล้วเราได้พูดถึงช่องโหว่ของระบบปฎิบัติการ Microsoft Windows ตามมาตรฐานของ SANS/FBI Top 20 กันไปแล้ว 5 ช่องโหว่ ในฉบับนี้จะกล่าวถึงช่องโหว่ในลำดับที่ 6 ถึง10