จากการบังคับใช้ พรบ. ว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 เมื่อวันที่ 19 กรกฏาคม 2550 ที่ผ่านมา ทำให้หลายคนต้องระมัดระวังในการใช้งานอินเทอร์เน็ตมากขึ้น เนื่องจาก พรบ. ได้กำหนดบทลงโทษผู้ที่ใช้งานคอมพิวเตอร์ในทางมิชอบ
จากบทวิเคราะห์กฏหมายในบทความตอนที่แล้ว เราได้วิเคราะห์ถึงหมวด 1 “ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์” ตั้งแต่มาตรา 5 ถึง มาตรา 17 โดยที่มาตรา 5, 6, 7, 8, 9, 10 และ มาตรา 12 กล่าวถึง ความผิดที่กระทำต่อคอมพิวเตอร์
ช่วงนี้ประเทศไทยของเรามีเหตุการณ์สำคัญๆเกี่ยวกับเรื่องความปลอดภัยข้อมูลคอมพิวเตอร์เกิดขึ้นหลายเรื่อง มีทั้งข่าวดีและข่าวร้าย สำหรับข่าวดีก็คือ ทางสภานิติบัญญัติแห่งชาติ หรือ สนช.
ภัย อันดับที่สี่ : ภัยจากการถูกแฮกเกอร์ยึดเครื่องคอมพิวเตอร์ไปทำเป็น “BOT” เพื่อสร้างเครือข่าย “BOTNET”
ปัญหาภัยอินเทอร์เน็ตของประเทศไทยจากสถิติในสองสามปีที่ผ่านมา พบว่ามีอัตราการเพิ่มขึ้นของปัญหาต่าง ๆ เป็นไปอย่างก้าวกระโดดตามอัตราการเพิ่มขึ้นของจำนวนผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย
สืบเนื่องจากกฏหมาย พรบ.ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ที่ได้ประกาศบังคับใช้ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2544 ในปัจจุบันเวลาผ่านมา 6 ปี ทางภาครัฐได้มีความพยายามในการผลักดันในการใช้กฏหมาย พรบ. ธุรกรรมฯ โดยได้พยายามออกกฏหมายลูก
ในปัจจุบันหลายคนต่างยอมรับว่าเรากำลังอยู่ในยุคสมัยแห่งโลกอินเทอร์เน็ตอย่างแท้จริง สังคมไซเบอร์กำลังแทรกซึมเข้าสู่วิถีชีวิตของคนทั่วโลกทุกชาติทุกภาษา สังเกตได้จากความนิยมในการใช้ Google Search Engine, Email และ World Wide Web
เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือ “Information Technology” ที่เรานิยมเรียกสั้นๆว่า “IT” หรือ “ICT” ที่รวมถึง “C” คือ “Communication” หรือ “การสื่อสาร” เข้ามาด้วย ซึ่งในปัจจุบัน “IT” หรือ “ICT” นั้น มีความสำคัญอย่างยิ่งกับทุกองค์กร
ทำไมปัญหาไวรัสคอมพิวเตอร์รวมถึงปัญหาภัยจากมัลแวร์ (MalWare=Malicious Software) ถึงยังไม่หมดไปจากระบบสารสนเทศของเราเสียที? เป็นคำถามของผู้บริหารระบบสารสนเทศหลายคนที่ต้องการคำตอบ
เนื่องจากผมและคณะผู้บริหารระดับสูงของกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทยได้มีโอกาสเข้าเยี่ยมชมศูนย์ปฏิบัติการเฝ้าระวังภัยความปลอดภัยข้อมูลคอมพิวเตอร์ และ ศูนย์พิสูจน์หลักฐานทางคอมพิวเตอร์ของกระทรวงกลาโหม ประเทศสิงค์โปร์